ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ (ตอนที่ 4)

ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ (ตอนที่ 4)
      และก็มาถึงช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ ซึ่งบทความนี้นำเสนอเรื่อง วิธีตรวจสอบเครดิตบูโร เป็นตอนสุดท้าย หลังจากนำเสนอไปแล้วตั้งแต่ตอนที่ 1 จนถึงตอนที่ 3 หากว่ายังไม่ได้อ่าน หรืออยากทราบรายละเอียดทั้งหมดเกี่ยวกับช่องทางการตรวจสอบเครดิตบูโรแบบเต็มๆ ก็แนะนำให้กลับไปอ่านตั้งแต่ตอนแรก และตอนนี้ก็มาต่อกันเลยกับ  ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ (ตอนที่ 4) นำเสนอการตรวจสอบเครดิตบูโรช่องทางสุดท้าย
      4ยื่นคำขอผ่านเคาน์เตอร์์ธนาคาร
กรณียื่นคำขอผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร สามารถยื่นคำขอได้ที่
  • บมจ.ธนาคารธนชาต (TBANK)
  • บมจ.ธนาคารกรุงไทย (KTB)
  • บมจ.ธนาคารไอซีบีซีที (ICBCT)
  • ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (GHB)
       การให้บริการยื่นคำขอตรวจสอบข้อมูลเครดิตผ่านเคาน์เตอร์ บมจ.ธนาคารธนาชาต,บมจ.ธนาคารกรุงไทย, บมจ.ธนาคารไอซีบีซีที และธนาคารอาคารสงเคราะห์ ทุกแห่งทั่วประเทศนั้น มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชน โดยเฉพาะที่อยู่ในภูมิภาคสามารถที่จะตรวจสอบความถูกต้องของประวัติธุรกรรมสินเชื่อของตนเองได้ ทั้งนี้ธนาคารจะทำหน้าที่เป็นเพียงตัวแทน บริษัท ข้อมูลเครดิตแห่งชาติ จำกัด ในการรับคำขอตรวจสอบและรับชำระค่าตรวจสอบ ซึ่งจะให้บริการเฉพาะเจ้าของข้อมูลที่เป็นบุคคลธรรมดาและต้องมายื่นขอตรวจสอบด้วยตนเองเท่านั้น โดยบริษัทจะเป็นผู้ตรวจสอบข้อมูลและจัดส่งรายงานข้อมูลเครดิตทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้แก่ท่าน ภายใน 1 สัปดาห์นับจากวันที่ท่านได้ยื่นคำขอที่ธนาคาร
ขั้นตอนการขอยื่นคำขอตรวจสอบข้อมูลเครดิตที่เคาน์เตอร์ บมจ.ธนาคารธนชาต,บมจ.ธนาคารกรุงไทย,บมจ.ไอซีบีซีที และธนาคารอาคารสงเคราะห์

ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ (ตอนที่ 3)

ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ (ตอนที่ 3)
     ก่อนหน้านี้เคยเขียน ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ  ซึ่งนำเสนอไปแล้วเป็นตอนที่ 1 และ ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ  (ตอนที่ 2) หากว่ายังไม่ได้อ่าน หรืออยากทราบรายละเอียดทั้งหมดเกี่ยวกับช่องทางการตรวจสอบเครดิตบูโรแบบเต็มๆ ก็แนะนำให้ไปอ่านด้วย และตอนนี้ก็มาต่อกันเลยกับ  ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ (ตอนที่ 3) นำเสนอการตรวจสอบเครดิตบูโร ช่องทางต่อไป
     

3. ขั้นตอนการยื่นขอตรวจสอบเครดิตบูโรที่ตู้เบิกเงินสด(ATM) ธนาคารกรุงไทย และธนาคารไทยพาณิชย์
   กรณียื่นคำขอผ่านตู้ ATM ของธนาคาร สามารถใช้บริการได้ที่ตู้ ATM ของธนาคารที่เจ้าของข้อมูลถือบัตร
  • บมจ.ธนาคารกรุงไทย (KTB) สำหรับลูกค้าของธนาคารที่ถือบัตร ATM และบัตรเดบิต
  • บมจ.ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) สำหรับลูกค้าของธนาคารที่ถือบัตร ATM , บัตรเดบิต และบัตรเครดิต (ที่ใช้เป็นบัตรเอทีเอ็ม)

ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ (ตอนที่ 2)

ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ (ตอนที่ 2)
   ก่อนหน้านี้เคยเขียน ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ ซึ่งนำเสนอไปแล้วเป็นตอนที่ 1 หากว่ายังไม่ได้อ่าน หรืออยากทราบรายละเอียดทั้งหมดเกี่ยวกับช่องทางการตรวจสอบเครดิตบูโรแบบเต็มๆ ก็แนะนำให้ไปอ่านด้วย และตอนนี้ก็มาต่อกันเลยกับ  ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ (ตอนที่ 2) นำเสนอการตรวจสอบเครดิตบูโรช่องทางต่อไป
   2. ขั้นตอนการยื่นคำขอข้อมูลเครดิตผ่าน Internet Banking  ธนาคารกรุงศรีอยุธยา (สำหรับรายละเอียดให้ดูจากรูปภาพเลยครับ)


แท็กซ์: ช่องทางตรวจสอบเครดิตบูโรอย่างง่ายๆ.เครดิตบูโร, ตรวจสอบเครดิตบูโร, จะตรวจสอบเครดิตบูโรทางเน็ตได้ป่าว, ตรวจสอบเครดิตบูโรได้อย่างไร, เราสามารถ ตรวจสอบเครดิตบูโร ที่ตู้เอทีเอ็มธนาคารได้หรือไม่ หรือ เช็คเครดิตบูโรผ่านตู้เอทีเอ็ม

ความหมายของตัวย่อในใบรายงานเครดิตบูโร

ความหมายของตัวย่อเครดิตบูโร
    เอามาให้อ่านกันเล่นๆ เวลาไปขอตรวจสอบเครดิตบูโรแล้ว บางท่านอาจเจอสถานะไม่ปกติ ตัวอักษรแปลกๆ ไม่เหมือนคนอื่นๆ จะสอบถามเพื่อนๆ ก็กลัวคนอื่นจะสงสัยหรือคิดว่าเครดิตบูโรเราไม่ปกติหรืออย่างไรก็แล้วแต่ มาดูกันเลยครับ กับ ความหมายตัวอักษรย่อในรายงานเครดิตบูโร

ความหมายของ "รหัสสถานะ" ทั้งหมดในเครดิตบูโร
A0 = บัญชีปกติ
D1 = อยู่ในระหว่าการเจรจาให้ชำระหนี้
D3 = มีการประนอมหนี้ หรือ มีข้อตกลงในการปรับโครงสร้างหนี้ใหม่
D5 = มียอดค้างชำระ
F0 = กำลังตรวจสอบบัตรเครดิต หรือบัตรประจำตัว เนื่องจากถูกฉ้อฉล
F1 = บัตรเครดิต หรือบัตรประจำตัว เคยถูกใช้ฉ้อฉล
L0 =อยู่ในระหว่างกระบวนการทางกฏหมาย
L3 = ศาลพิพากษายกฟ้อง
S0 = บัตรเครดิต ถูกขโมย / หาย
T1 = ขายหนี้ไปยังบริษัทบริหารสินทรัพย์ หรือนิติบุคคลอื่น
T3 = โอนหนี้ไปยังบัญชีใหม่ หรือบัญชีอื่น
X0 = ปิดบัญชี
X1 = ระงับการให้บริการ 
(สถานะนี้ร้ายแรง หมายถึงถูกตีเป็นหนี้เสีย และเจ้าหนี้มี  การติดตามทวงถามอยู่ แต่ติดต่อลูกหนี้ไม่ได้)
X2 = ลูกค้าเสียชีวิต หรือสาบสูญ
X5 = ปิดบัญชี ภายหลังจากการติดตามทวงถาม
(สถานะนี้ไม่ดีเลย  หลังจากพ้น 3 ปีไปแล้ว ลูกหนี้ต้องนำเอกสารหลักฐานการปิดบัญชีไปขอแก้ไขข้อมูลเครดิต เพื่อให้เครดิตบูโรทำการ “ลบฐานข้อมูลนี้ออกจากบัญชี” เพื่อให้ “สรุปข้อมูลบัญชีสินเชื่อเป็น 0”)
X7 = ปิดบัญชีเนื่องจากหนี้สูญ
10 = สถานะปกติ
11 = สถานะปิดบัญชี
12 = พักชำระหนี้ ตามนโยบายของรัฐ
20 = มีหนี้ค้างชำระเกิน 90 วัน

วิธีล้างเครดิตบูโร...ทำได้จริงหรือไม่

วิธีล้างเครดิตบูโร...ทำได้จริงหรือไม่
      สำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้ในเรื่องนั้นๆ แล้ว หากจะทำในเรื่องที่ไม่รู้ก็เป็นเรื่องยากขึ้นมาทันที การกู้เงินในปัจุบัน ก็ยุ่งยากกว่าแต่ก่อนมาก มีทั้ง เครดิตบูโร มาเกี่ยวข้อง มีทั้งสเตทเม้น มีทั้งสำเนานั้น สำเนานี่ เยอะแยะไปหมด เครดิตบูโร คืออะไร อธิบายกันมาก็มาก หากจำไม่ได้หาอ่านเอาจากบทความใน ล้างหนี้แบล็คลิสต์ เครียร์เครดิตบูโรบล็อก กันได้ เข้าเรื่องเลยครับ วิธีล้างเครดิตบูโร...ทำได้หรือไม่ แล้วทำได้จริงหรือ????


    คำตอบ สำหรับ....วิธีล้างเครดิตบูโร...ทำได้จริงหรือไม่....สำหรับคำตอบ คือ....